วันพุธที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2553

โรคมะเร๊งปากมดลูก



ที่มา    http://www.nci.go.th/knowledge/pakmodluk.html

วิธีการสื่อสาร

เกร็ดความรู้เรื่องของคอมพิวเตอร์

5.
เกร็ดความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
35B
5.1 ระบบความปลอดภัย
207B
ต้องการให้เอกสารเป็นความลับหรือสามารถเข้าไปแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงเอกสารได้
ในการสร้างเอกสารบ่อยครั้งที่ผู้สร้างต้องการสร้างระบบความปลอดภัยให้กับเอกสารของตน เพื่อ
1.
เลือกคำสั่ง [เครื่องมือ > ตัวเลือก] 2.เลือกคำสั่ง [ควำมปลอดภัย]
ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศประจาศาลฎีกา
version 1.1 นิโรบล นุชอุดม
4
36B
เอกสารและปิดจากนั้นให้ทดลองเปิด แฟ้มเอกสารที่ปิดไปเมื่อสักครู่ โปรแกรมจะถามรหัสก่อน
เข้าไปเปิดงานและแก้ไข ให้ใส่รหัสไปและตอบตกลง
เมื่อใส่รหัสแล้วโปรแกรมจะถามเพื่อยืนยันรหัสที่ตั้งไว้ จากนั้นให้ทาการบันทึกแฟ้ม
กลับสู่หน้าหลัก
3.
ใส่รหัสควำมปลอดภัย > ตกลง
ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศประจาศาลฎีกา
version 1.1 นิโรบล นุชอุดม
5
37B
5.2.1
5.2 คีย์ลัดสาหรับโปรแกรม Microsoft Wordคีย์ลัด Microsoft Word
สร้างกระดาษใหม่
Ctrl + N
เปิดแฟ้ม
Ctrl + O
บันทึก
Ctrl + S
พิมพ์
Ctrl + P
เลิกทาการพิมพ์ป้อน
Ctrl + Z
ทาซ้าการพิมพ์ป้อน
Ctrl + Y
ตัด
Ctrl + X
คัดลอก
Ctrl + C
วาง
Ctrl + V
คลุมดาทั้งหมด
Ctrl + A
ค้นหา
Ctrl + F
แทนที่
Ctrl + H
ไปที่
Ctrl + G
เชื่อมโยงหลายมิติ
Ctrl + K
ไปที่แฟ้ม
Alt + A
ไปที่แก้ไข
Alt + D
ไปที่แทรก
Alt + M
ไปที่เครื่องมือ
Alt + 8
การสะกดและไวปกรณ์
F7
ค้นหา ไปที่ แทนที่
F5
บักทึกแฟ้มเป็น
F12
ปิด
Ctrl + W
กลับสู่หน้าหลัก
ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศประจาศาลฎีกา
version 1.1 นิโรบล นุชอุดม
6
5.2.2
คีย์ลัดในการแทรกข้อความด้วยคีย์บอร์ด
กลับสู่หน้าหลัก
เลื่อนไปยังตัวอักษรถัดไป
เลื่อนไปตัวอักษรก่อนหน้านี้
เลื่อนไปยังบรรทัดก่อนหน้านี้
เลื่อนไปยังบรรทัดถัดไป
เลื่อนไปยังต้นแถวของแถวนั้น
เลื่อนไปยังท้ายแถวของแถวนั้น
เลื่อนเอกสารขึ้นหนึ่งหน้า
เลื่อนเอกสารลงหนึ่งหน้า
+
เลื่อนไปที่คาที่อยู่ถัดไป
+
เลื่อนไปที่คาที่อยู่ก่อนหน้า
+
เลื่อนไปที่ย่อหน้าถัดไป
+
เลื่อนไปที่ย่อหน้าปัจจุบันหรือย่อหน้าก่อนหน้าปัจจุบัน
+
เลื่อนไปต้นเอกสาร
+
เลื่อนไปท้ายเอกสาร
+
เลื่อนไปต้นหน้ากระดาษก่อนหน้า
+
เลื่อนไปต้นหน้ากระดาษถัดไป
ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศประจาศาลฎีกา
version 1.1 นิโรบล นุชอุดม
7
38B
5.3 แถบเครื่องมือต่างๆ ของ โปรแกรม Microsoft Word
208B
สร้างเอกสารใหม่โดยใช้แบบเอกสารปกติ
209B
เปิดเอกสารหรือแบบเอกสารที่มีอยู่แล้ว
210B
บันทึกเอกสารหรือแบบเอกสารปัจจุบัน
21B
พิมพ์เอกสารปัจจุบันโดยใช้ค่าที่ตั้งไว้
212B
แสดงเอกสารเต็มหน้าเหมือนตอนพิมพ์
213B
ตรวจคาสะกดในเอกสารปัจจุบัน
214B
ตัดส่วนที่ทาแถบสีไว้และวางไว้บนคลิปบอร์ด
215B
บอร์ด
คัดลอกส่วนที่แถบสีไว้และวางไว้บนคลิป
216B
แทรกเนื้อหาของคลิปบอร์ดที่จัดแทรก
217B
ตาแหน่งที่ระบุ
คัดลอกรูปแบบของส่วนที่แถบสีไว้ไปไว้ที่
218B
กลับการกระทาสุดท้าย
219B
ทาการทางานหลังสุดซึ่งถูกยกเลิกการกระทา
20B
แทรกตาราง
21B
เปลี่ยนคอลัมน์ของตอนที่เลือกไว้
2B
แสดงหรือซ่อนสัญลักษณ์ในการจัดเอกสาร
23B
ย่อ-ขยายจอภาพ
24B
ข้อความ
แสดงวิธีใช้คาสั่งหรือตรวจสอบรูปแบบของ
25B
ตามตัวอย่าง
จัดรูปแบบดังที่มีอยู่แล้วหรือรูปแบบข้อความ
26B
เปลี่ยนประเภทตัวอักษรของส่วนที่แถบสีไว้
27B
เปลี่ยนบนาดตัวอักษรของส่วนที่แถบสีไว
28B
สีไว้ให้เป็นตัวหนา
ทาหรือยกเลิกรูปแบบตัวอักษรส่วนที่ทาแถบ
29B
สีไว้ให้เป็นตัวเอียง
ทาหรือยกเลิกรูปแบบตัวอักษรส่วนที่ทาแถบ
230B
สีไว้เป็นขีดเส้นใต้
ทาหรือยกเลิกรูปแบบตัวอักษรส่วนที่ทาแถบ
231B
ซ้ายของบรรทัด
จัดเรียงข้อความที่ทาแถบสีไว้ให้อยู่ชิดขอบ
ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศประจาศาลฎีกา
version 1.1 นิโรบล นุชอุดม
8
232B
บรรทัด
จัดเรียงข้อความที่ทาแถบสีไว้ให้อยู่กึ่งกลาง
23B
ขวาของบรรทัด
จัดเรียงข้อความที่ทาแถบสีไว้ให้อยู่ชิดขอบ
234B
ซ้ายและขอบขวา
จัดเรียงข้อความที่ทาแถบสีไว้ให้อยู่ชิดขอบ
235B
ใส่เลขหน้าข้อความที่ทาแถบสีไว้
236B
ใส่เครื่องหมายหน้าข้อความที่ทาแถบสีไว้
237B
ลดระยะเยื้องของข้อความที่ทาแถบสีไว้
238B
เพิ่มระยะเยื้องของข้อความที่ทาแถบสีไว้
239B
แสดงหรือซ่อนแถบเครื่องมือเส้นขอบ
240B
เปลี่ยนมุมมองเป็นมุมมองปกติ
241B
เปลี่ยนมุมมองเป็นมุมมองเค้าโครงออนไลน์242B


ที่มา
http://www.supremecourt.or.th/webportal/maincode/admin/upload/files/October_18_2007_9_19_da0a019f459e37f4b5eed72760a6ba8d.pdf
เปลี่ยนมุมมองเป็นมุมมองเหมือนพิมพ์

งานไฟฟ้า

งานประปา

น้ำคือปัจจัยที่สำคัญใน การดำรงชีวิตของมนุษย์ เราสามารถใช้น้ำในการใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ทั้งการอุปโภคและบริโภค อาคารบ้าน พักอาศัยก็เช่นเดียวกัน จำเป็นจะต้องมีการวาง ระบบน้ำประปา มาใช้ในอาคารด้วย ในการนำน้ำมาใช้กับ อาคารบ้านเรือน ทั้งหลาย จะต้องมีการวางระบบที่ดี เพื่อให้เกิดความสะดวกใน การใช้งานอีกทั้งสะดวกในการบำรุงรักษาอีกด้วย ต้องคำนึงถึง การจัดวางตำแหน่ง ท่อต่างๆได่แก่ ระบบท่อน้ำดี ระบบท่อน้ำทิ้ง ระบบท่อน้ำเสีย และ ระบบท่อระบายอากาศ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน เพื่อประสิทธิภาพ ในการใช้ ตลอดจนอายุการใช้งานที่ยาวนานและเนื่องจากระบบท่อต่าง ๆ จะถูกซ่อนไว้ตามที่ต่างๆเช่นในผนัง พื้น ฝ้าเพดาน ฉะนั้น ก่อนการ ดำเนินการก่อสร้างต้องมีการวางแผนให้ดี เพื่อประโยชน์ในการซ่อมบำรุงในภายหลัง และนอกจากนี้ ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ต้อง คำนึงถึงอีกมากมาย ดังเช่น
1) จัดเตรียมพื้นที่การเดินท่อทั้งแนวนอน แนวดิ่ง รวมถึงระยะลาดเอียงต่าง ๆ
2) ติดตั้งฉนวนในระบบท่อที่จำเป็นเช่น ท่อน้ำเย็น เพื่อลดความเสียหายจากการรั่วซึม
3) ออกแบบระบบแขวน และรายละเอียดอื่น ๆ ตามมาตรฐานของอุปกรณ์ต่าง ๆ
4) จัดเตรียมพื้นที่สำหรับการบำรุงรักษา
ระบบน้ำประปา มีส่วนสำคัญคือ การจ่ายน้ำที่สะอาดไปยังจุดที่ใช้งานต่าง ๆ ในปริมาณ และแรงดันที่เหมาะสม กับการใช้งาน นอกเหนือ จากนั้น ยังจะต้องมีระบบ การสำรองน้ำในกรณีฉุกเฉิน หรือมีการปิดซ่อม ระบบภายนอก หรือช่วงขาดแคลนน้ำ และในอาคาร บาง ประเภท ยังต้องสำรองน้ำสำหรับ ระบบดับเพลิงแยก ต่างหากอีกด้วย
หลักการจ่ายน้ำภายในอาคารมี 2 ลักษณะคือ
1) ระบบจ่ายน้ำด้วยความดัน (Pressurized/Upfeed System)
เป็นการจ่ายน้ำโดยอาศัย การอัดแรงดันน้ำ ในระบบ ท่อประปาจากถังอัดความดัน (Air Pressure Tank) ระบบที่ใช้กับ ความสูงไม่จำกัด ทั้งยังไม่ต้องมี ถังเก็บน้ำ ไว้ดาดฟ้าอาคาร

2) ระบบจ่ายน้ำโดยแรงโน้มถ่วง (Gavity Feed/Downfeed System)
เป็นการสูบน้ำขึ้นไปเก็บไว้บนดาดฟ้าแล้ว ปล่อยลงมาตามธรรมชาติ ตามท่อต้องเป็นอาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 10 ชั้น ขึ้นไป ถือเป็น ระบบ ที่ไม่ซับซ้อนไม่ต้องใช้ไฟในการจ่าย แต่จะต้องเตรียมถังเก็บน้ำ ไว้บนดาดฟ้า จึงต้องคำนึงถึง เรื่องโครงสร้างในการ รับน้ำหนัก และความสวยงามด้วย
ในการสำรองน้ำสำหรับการใช้งานนั้นจะต้องมีการใช้ถังเก็บน้ำแบบต่าง ๆ มาประกอบการใช้งาน ถังเก็บน้ำที่มีใช้กันอยู่โดยทั่วไป ในปัจจุบันนั้นมีหลายแบบให้เลือกใช้ รวมทั้งอาจจะต้องมีเครื่องสูบน้ำติดตั้งอีกด้วย แต่เครื่องสูบน้ำนั้น ห้ามต่อระหว่าง ระบบสาธารณะ กับถังพักน้ำในบ้าน เพราะเป็นการกระทำที่ผิดกฏหมายเนื่องจาก เป็นการสูบน้ำจากระบบสาธารณะ โดยตรงซึ่งเป็นการเอาเปรียบผู้อื่น การสูบน้ำในบ้านจะต้องปล่อยให้น้ำจาก สาธารณะมาเก็บ ในถังพักตาม แรงดันปกติเสียก่อนแล้วค่อยสูบน้ำไปยังจุดที่ต้องการอื่น ๆได้
ตำแหน่งที่ตั้งถังเก็บน้ำที่ใช้งานทั่วไปมีที่ตั้ง 2 แบบคือ
- ถังเก็บน้ำบนดิน ใช้ในกรณีที่มีพื้นที่เพียงพอกับการติดตั้ง อาจติดตั้งบนพื้นดิน หรือบนอาคาร หรือติดตั้งบนหอสูง เพื่อใช้ประโยชน์ ในการใช้แรงดันน้ำ สำหรับแจกจ่ายให้ส่วนต่างๆของอาคาร การดูแลรักษาสามารถทำได้ง่ายแต่อาจดูไม่เรียบร้อยและไม่สวยงามนัก
- ถังเก็บน้ำใต้ดิน ใช้ในกรณีที่ไม่มีพื้นที่ในการติดตั้งเพียงพอและต้องการให้ดูเรียบร้อยสวยงามการบำรุงดูแลรักษาทำได้ยาก ดังนั้นการก่อสร้าง และการเลือก ชนิดของถังต้องมีความละเอียดรอบคอบ

ที่มา http://www.novabizz.com/CDC/System31.htm

บุคคลสำคัญของไทย

สัญลักษณ์จราจร

traffic-sign

สัญลักษณ์จราจร

สัญลักษณ์จราจร ป้ายสัญลักษณ์ภาษาไทย-อังกฤษ ที่ควรรู้ เวลาไปสอบใบขับขี่ หรือเวลาขับรถ รู้ไว้ได้ประโยชน์ครับ
Traffic signs
Turn Left   ให้เลี้ยวซ้าย
เครดิต : http://www.9bkk.com/

Turn Right   ให้เลี้ยวขวา

Junction Ahead   ทางแยกข้างหน้า

Narrow Bridge   สะพานแคบ

Narrow Road   ทาง / ถนนแคบลง

Signal Ahead    สัญญาณไฟข้างหน้า

One Way Traffic    เดินรถทางเดียว

Two Way Traffic   เดินรถสวนทางกัน

Dual Carriage Way Ahead    เริ่มต้นทางคู่

Dual Carriage Way End   สิ้นสุดทางคู่

Left Winding Road    ทางคดด้านซ้าย

Right Winding Road    ทางคดทางขวา

Right Tune Split    ทางแยกด้านขวาข้างหน้า

Left Turn Split     ทางแยกด้านซ้ายข้างหน้า

Lanes Merging Left   ทางร่วมข้างหน้า (ด้านซ้าย)

Lanes Merging Right   ทางร่วมข้างหน้า (ด้านขวา)

Steep Hill Ascent   ทางขึ้นลาดชัน

Steep Hill Descent    ทางลงลาดชัน

Openning Bridge    สะพานเปิดได้

Pedestrian Crossing    ทางคนเดินข้าม

Slippery Road   ระวังถนนลื่น

Railway Crossing Without Gate¦lt;br /> ทางรถไฟข้างหน้า (ไม่มีเครื่องกั้น)

Bike Lane   ทางรถจักรยาน

Stop   ให้หยุดรถ

Roundabout Ahead   วงเวียนข้างหน้า

Caution Deer Crossing     ระวัง (กวาง) เดินข้ามถนน

Caution Cliff Ahead   ระวังหน้าผาข้างหน้า

Dangerous Bend   อันตรายทางโค้งหักศอก

Falling rock   ระวังหินร่วง

Loose Gravel   ระวังผิวทางร่วน

No Turn Left    ห้ามเลี้ยวซ้าย

No Turn Right    ห้ามเลี้ยวขวา

No U – Turn   ห้ามกลับรถ
สัญลักษณ์จราจร
No Passing   ห้ามแซง

Motorcycles & Autos Prohibited  ¦lt;br /> ห้ามรถมอเตอร์ไซด์และรถยนต์ผ่าน

Trucks Prohibited    ห้ามรถบรรทุกเข้า

No Bikes    ห้ามรถจักรยาน

No Entry    ห้ามเข้า

No Parking   ห้ามจอดรถ

No Standing and Parking  ¦lt;br /> ห้ามหยุดและห้ามจอด

No Audible   ห้ามใช้เสียง / กดแตร

No Pedestrians    ห้ามเดินข้าม

End oF Restriction    สุดเขตจำกัดความเร็ว

Width Limitation   จำกัดความกว้าง

Height Limitation   จำกัดความสูง

Weight Limitation    จำกัดน้ำหนักบรรทุก

Speed Limited (90km/ h)    จำกัดความเร็ว ไม่เกิน 90 กม./ ชม.

One Way    ให้เดินรถทางเดียว

End of Road   สุดทาง